วันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

กฎหมายและกฎระเบียบเกี่ยวกับยาเสพติด


กฎหมายและกฎระเบียบเกี่ยวกับยาเสพติด





กฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับยาเสพติดที่สำคัญ แบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม และรวมกฎหมายยาเสพติด(ฉบับปรับปรุงใหม่) ได้แก่
    การดำเนินการแก้ไขกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับยาเสพติดปีงบประมาณ ๒๕๔๗    (๒๑ ม.ค.๒๕๔๘)
    สรุปผลและความคืบหน้าการดำเนินการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับยาเสพติด ปีงบประมาณ ๒๔๔๕ - ๒๕๔๖


1.กฎหมายเกี่ยวกับมาตรการในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
1.พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ฉบันที่ ๓ (แก้ไข) พ.ศ. ๒๕๔๓
2.พ.ร.บ. มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔
3.พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๕ 
2.กฎหมายเกี่ยวกับมาตรการในการควบคุมยาเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท สารระเหย และเคมีภัณฑ์ ที่ใช้ในการผลิตยาเสพติด
1.พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒
2.พ.ร.บ. วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘
3.พ.ร.ก. ป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓
4.พ.ร.บ. ควบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๙๕
5.พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ 
3.กฎหมายว่าด้วยมาตรการเฉพาะด้าน
1.พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔
2.พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ 
4.ระเบียบ ฯ ที่เกี่ยวข้อง 
1.เงินสินบนและเงินรางวัลคดียาเสพติด และ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัลคดียาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๗ ที่แก้ไขใหม่(พ.ศ.๒๕๔๖)  (๑๙ มี.ค.๒๕๔๖)
2.การแต่งตั้งเจ้าพนักงาน ป.ป.ส.
3.จับ ยึด และตรวจพิสูจน์ยาเสพติด
4.ประสานงานคดีความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด
5.ป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐมิให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
6.ระเบียบ คตส.ว่าด้วยกองทุนป้องกันและปราบปราม ฯ (ฉบับที่ 3 )พ.ศ.2546  
5.รวมกฎหมายยาเสพติด (ฉบับปรับปรุงใหม่)    
1.พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๑๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติม  
2.พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
3.พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕
4.พ.ร.บ.มาตราการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔
5.พ.ร.บ.วัตถุที่ออกฤทธฺ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘
6.พ.ร.ก.ป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓
7.พระราชบัญญัติควบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๙๕ 
8.พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ 
9.พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
10.พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
11.พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๗๙
12.พระราชบัญญัติให้อำนาจทหารเรือปราบปรามการกระทำความผิดบางอย่างทางทะเล (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๔
13.พระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในเร่องทางอาญา พ.ศ. ๒๕๓๕
14.พระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. ๒๔๗๒
15.พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
16.พระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๒๗
17.ระเบียบ คำสั่ง และหนังสือราชการอื่นๆ
6.อื่น ๆ
1.แนวปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในสถานประกอบการ
พิเศษ  
  คำวินิจฉัย ที่ ๒๗/๒๕๔๗ การยึดอายัดทรัพย์สินตาม พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๙ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญมาตรา ๒๖ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๓ และมาตรา ๔๘ หรือไม่
  คำวินิจฉัย ๒๖/๒๕๔๖ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๔
กรณี พ.ร.บ.ในการปราบปรามผู้กระทำความผิด ฯ



ข้อคิดสำหรับผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด

“ ไม่ว่าจะได้รับทรัพย์สินเงินทองมากเท่าใดจากการผลิต การค้ายาเสพติด ไม่ว่าจะเปลี่ยนแปลงสภาพทรัพย์สิน หรือโอนไปอยุ่ในชื่อของใครก็ตาม เช่น ลูกเมีย ญาติพี่น้อง หรือคนใกล้ชิด   หากไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่า ทรัพย์สินเหล่านั้นได้มาอย่างบริสุทธิ์ ศาลจะสั่งริบทรัพย์สินนั้นให้ตกเป็นของ กองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติดต่อไป และยังต้องทนทุกข์ทรมานอยู่ในคุกอีกด้วย 




อัตราการจ่ายเงินสินบนเงินรางวัลคดียาเสพติด        

            พ...มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติด พ..2534
วัตถุประสงค์  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด โดยเฉพาะการมุ่งเอาผิดต่อผู้ค้ายาเสพติด ระดับนายทุน และตัวการสำคัญที่อยู่เบื้องหลังการกระทำความผิด และริบทรัพย์สินที่ได้รับมาจากการค้ายาเสพติด เพื่อขจัดแหล่งเงินทุนในการกระทำความผิดที่เกี่ยวกับยาเสพติด
          ทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องการกระทำความผิดที่เกี่ยวกับยาเสพติดและศาลสั่งริบ ให้ตกเป็นของ กองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติด” เพื่อนำทรัพย์สินที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดต่อไป


        ผู้ที่แจ้งข่าวสารยาเสพติด แก่เจ้าหน้าที่จนสามารถจับกุมผู้กระทำผิด และของกลางยาเสพติดได้ ผู้แจ้งความนำจับจะได้รับเงินค่าตอบแทนการแจ้งข่าวนำจับ เรียกว่า เงินสินบนเงินรางวัล” ซึ่งมีอัตราการจ่ายเงินตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจ่ายเงินสินบนเงินรางวัลคดียาเสพติด พ..2537 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ดังนี้
    1. เฮโรอีน                   กรัมละ  10 บาท
    2. มอร์ฟีน                   กรัมละ  4  บาท
    3. ฝิ่น ฝิ่นยา (มอร์ฟีน)   กรัมละ  4  บาท
    4. กัญชา                     กรัมละ  0.02 บาท
    5. ยางกัญชา หรือกัญชาน้ำ    กรัมละ  10  บาท
    6. อาเซติค แอนไฮไดรด์       กรัมละ  10  บาท
    7. อาเซติค คลอไรด์             กรัมละ  10  บาท
    8. อีเทอร์ คลอโรฟอร์ม         กรัมละ  3  บาท
    9. แอมเฟตามีน หรือ เมทแอมเฟตามีน (ยาบ้า)
          ชนิดผง                   กรัมละ  20  บาท
          ชนิดเม็ด คดีไม่เกิน 10 เม็ด จ่าย 200 บาท
          คดี 11-500 เม็ด จ่ายไม่เกิน 5,000 บาท
          คดี  501 เม็ด จ่าย 5,000 บาท
          ส่วนที่เกิน 500 เม็ด ๆละ 3  บาท
          แต่รวมแล้วไม่เกิน 20,000 บาท
    10. ยาเสพติดอื่น ๆ (ยกเว้นพืชกระท่อมกรัมละ บาท



อ้างอิง : http://www.mukdahannews.com/h-ampata.htm
http://www.prachuapkhirikhan.go.th/web1/doc/km_1.htm

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น